ทฤษฏีการชนกัน
Homeผู้จัดทำแบบทดสอบก่อนเรียนอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมีกลไกของปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกฏอัตราแบบทดสอบหลังเรียน

 

ทฤษฏีการชนกัน 
พลังงานก่อกัมมันต์ 
แบบฝึกปฏิบัติที่ 2 
เฉลยแบบฝึกปฏิบัติที่ 2 

 

anigreen11_next.gifทฤษฎีการชนกัน anigreen11_back.gif 

 

ทฤษฎีการชนกันหรือทฤษกีการปะทะ (Collision  Theory)   เป็นทฤษฎีสำหรับอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี มีการชนกันด้วยทิศทางที่เหมาะสม และมีพลังงานมากพอ จึงจะสมารถเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ ส่วนพลังงานน้อยที่สุดที่โมเลกุลของสารตั้งต้นจำเป็นต้องมี เพื่อใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกว่า พลังงานก่อกัมมันต์ ( Activation  Energy )   ตัวอย่างเช่น
                ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนกับแก๊สไอโอดีนเกิดเป็นก๊าชไฮโดรเจนไอโอไดด์  ดังสมการ     จะต้องมีพลังงานสูงพอ และเข้าชนกันในทิศทางที่เหมาะสม

                 
                           ภาพแสดงการจัดเรียงโมเลกุลของ  
 และ     ขณะชนกัน
                         การเข้าชนกันของโมเลกุล   ,,   ก. ไม่เกิดปฏิกิริยา   ข. เกิดปฏิกิริยา

flower_wind.gif

 

 


จำนวนผู้เข้าใช้งาน
ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม  2548

จัดทำโดย ศน.อรอุมา  บวรศักดิ์
ศึกษานิเทศ ชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย  เขต 2
Copyright(c) 2004 Mrs.Ornuma  Bowonsak. All right reserved